
แชร์โลมา ตอนที่2
โลมาอิรวดีเป็นสัตว์ทะเลหายากที่อาศัยในแม่น้ำบางปะกง กำลังเผชิญภัยคุกคามจากการทำประมงและการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เรียนรู้การอนุรักษ์และบทบาทของโลมาในระบบนิเวศปากแม่น้ำ
โลมาอิรวดีเป็นสัตว์ทะเลหายากที่อาศัยในแม่น้ำบางปะกง กำลังเผชิญภัยคุกคามจากการทำประมงและการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เรียนรู้การอนุรักษ์และบทบาทของโลมาในระบบนิเวศปากแม่น้ำ
ปากแม่น้ำบางปะกง แหล่งน้ำกร่อยที่เป็นถิ่นอาศัยของโลมาอิรวดี โลมาหลังโหนก โลมาหัวบาตรหลังเรียบ และวาฬบรูด้า แต่จำนวนโลมาอิรวดีลดลงเหลือเพียง 22 ตัว จากภัยคุกคามทางสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟูป่าชายเลน การสร้างบ้านปลา และการท่องเที่ยวชมโลมา คือความหวังสำคัญในการอนุรักษ์โลมาและฟื้นคืนความสมดุลของธรรมชาติในบางปะกง.
คนบางปะกงใช้ความรู้จากความเข้าใจธรรมชาติเพื่อจัดการชีวิตทั้งเรื่องการอยู่การหากิน โดยไม่ขืนครรลองธรรมชาติ ภูมิปัญญานี้เรียกว่า “นาขาวัง”
เคยเป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศชายฝั่งและทะเล มีความสัมพันธ์ระหว่างเคยกับความหลากหลายทางชีวภาพ การประมงความอยู่ดีกินดีของชุมชน
ประมงพื้นบ้านมีความรู้ในการทำปะการังเทียมมานานหลายพันปีแล้ว องค์ความรู้นี้พบเห็นได้ในทะเลแถบอินโดแปซิฟิก ชาวประมงจะใช้โครงสร้างไม้ไผ่ และใบปาล์ม หรือทางมะพร้าว สะกันไว้เป็นห้องๆ เพื่อดึงดูดสัตว์น้ำ อุปกรณ์แบบนี้ถ้าเป็นคนประมงบ้านเราแถวอ่าวไทยตอนบน อย่างเช่น คนบางปะกง เรียกว่า กล่ำ หรือ กร่ำ พอลงใต้ตั้งแต่ประจวบคีรีขันธ์เป็นต้นไป เรียกว่า ซั้ง หรือซั้งกอ
จอมยุทธ์หนึ่งเดียวในชุมชนคลองหัวจาก ตำบลบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่เลี้ยงตัวด้วยป่าจากจนทุกวันนี้ เป็นเวลากว่า 60 ปี และยังทำหน้าที่สางป่าให้อยู่ในสภาพที่ไม่ตกขโมง
ป่าชายเลนบริเวณปากแม่น้ำบางปะกงมีพันธุ์ไม้มากกว่า 80 ชนิด แต่ชนิดที่คนใช้ประโยชน์ได้แทบทุกส่วน คือต้นจาก สมัย 40-50 ปีก่อน จากเป็นพืชที่ผูกพันกับทุกชีวิต อาหาร วัสดุมุงหลังคาบ้าน ฝาผนัง ของเล่นของเด็กน้อย รายได้ที่ส่งลูกเรียนจนจบ ล้วนได้มาจากพืชตระกูลปาล์มที่วิวัฒนาการจนปรับตัวอยู่ในน้ำเค็มชนิดนี้
ต้อนรับปีพุทธศักราช 2567 ด้วยความงามของลำน้ำโค้งตวัดแม่น้ำบางปะกงครับ
แม่หอบ หรือ จอมหอบ (Mud lobster, Mangrove lobster) เป็นสัตว์น้ำไม่มีกระดูกสันหลังในกลุ่มครัสเตเชียนชนิดหนึ่ง อยู่ในสกุล Thalassina จัดเป็นสิ่งมีชีวิตดึกดำบรรพ์ที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไมโอซีนเมื่อ 16 ล้านปีก่อน
นับตั้งแต่เดือนสิงหาคมเป็นต้นไป ก่อนที่ฤดูหนาวจะมาเยือนซีกโลกเหนือ นกหลายชนิดจะเตรียมตัวบินข้ามมหาสมุทรเป็นพันกิโลเมตร มุ่งหน้าลงใต้หนีความหนาวอันทารุณ